0921045555

ชื่อโครงการ: การศึกษาฤทธิ์แก้ซึมเศร้า ฤทธิ์รักษาโรดจิต และกลไกการออกฤทธิ์ทางเภสัช วิทยาที่เกี่ยวข้องของแกมมาแมงโกสดิน สารสกัดจากเปลือกมังคุด

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาฤทธิ์แก้ซึมเศร้า ฤทธิ์รักษาโรคจิต และกลไกการออกฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาที่เกี่ยวข้องของแกมมาแมงโกสติน สารสกัดจากเปลือกมังดุดโดยใช้แบบจำลองการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสัตว์และศึกษาจาก mRNA expression ผลการศึกษาพบว่าเมื่อให้แกมมาแมงโกสติน 1-30 mg/kg ทางช่องท้อง สารไม่แสดงผลต่อ spontaneous locomotor activity และ 5-methoxy-N-N-dimethyltryptamine (5MeO-DMT)-induced head twitch response แด่เมื่อให้โดย intracerebroventricular injection พบว่าแกมมาแมงโกสดิน 100nmole/mice สามารถลด immobility time ใน Force Swim Tost ลดจำนวนครั้งของการเกิด head twitich response จากการเหนี่ยวนำโดย

5MeO-DMT และต้าน meta-chlorophenyIpiperazine (mCPP)-induced hypolocomotor activity แบบโดยไม่มีผลต่อ แปรผันตามขนาดยาที่ให้และแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญเทียบกับกลุ่มทดลอง spontaneous locomotor activity, 5MeO-DMT-induced head waving response และ apomorphine- induced climbing เมื่อศึกษาผลของแกมมาแมงโกสตินต่อ serotoninza 2c receptor mRNA expression พบว่าแกมมาแมงโกสดิน 0.1 JM เพิ่มการแสดงออกของ 5-HT2.R และมีแนวโน้มเพิ่มการแสดงออกของ 5-HT2R mRNA โดยไม่มีผลเปลี่ยนแปลง B-actin mRNA expression และ serotonin สามารถลดผลของแกมมาแมงโกสตินต่อการแสดงออกของ 5-HT242cRs mRNA expression ได้ ผลจากการศึกษา

นี้แสดงว่าแกมมาแมงโกสดินมีฤทธิ์แก้ซึมเศร้า โดยฤทธิ์ดังกล่าวอาจสัมพันธ์กับการเป็น่ 5-HT.PGRsantagonist นอกจากนั้นยังพบว่าแกมมาแมงโกสติน 0.1 มM เพิ่มการแสดงออกของ histamine Hireceptor และ muscarinic M4 receptor แต่ไม่มีผลต่อการแสดงออกของ synaptotagmin mRNA ผลจากการศึกษานี้แสดงว่าแกมมาแมงโกสตินอาจออกฤทธิ์ยับยั้งการทำงานของ G-proteincoupledreceptors หรือยับยั้งการถ่ายโอนสัญญานของ G-protein coupled receptors

ชื่อนักวิจัย: นางมนฤดี สุขมา ภาควิชาเภสัชวิทยาและพิษวิทยา คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

อ่านบทความอื่นๆ

สนใจศึกษาเพิ่มเติมได้ที่ ศูนย์ข้อมูลการวิจัย Digital “วช.”

https://dric.nrct.go.th/Search/ShowFulltext/1/201614